Sufficiency Economy Initiative

(www.sufficiencyeconomy.com)

ประมวลบทสัมภาษณ์

ความเป็นมา      รายนามบุคคลที่สัมภาษณ์      ประมวลบทสัมภาษณ์

Sufficiency Economy comes in when we wonder what kind of objectives we should follow. What should we expect from an economy, expect from technology?
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับทุกประเทศในเวลานี้
ศ.ดร.วูล์ฟกัง ซัคส์ (Wolfgang Sachs)
ผู้เชี่ยวชาญประจำสถาบันวุพเพิลทอล เพื่อสภาวะอากาศ สิ่งแวดล้อม และพลังงาน ประเทศเยอรมนี

Thailand is really in a coherent way, articulating this concept of Sufficiency Economy in each and every walk of life. I consider this to be the basic way to bring ideas and behaviours to the people of Thailand.
สังคมต้องมีทางเลือกใหม่ สำหรับเมืองไทย คือเศรษฐกิจพอเพียง
ศ.ดร.ฟรานซ์ ธีโอกอตวอลล์ (Franz-Theo Gottwald)
ผู้อำนวยการมูลนิธิชไวเฟิร์ท เพื่อการพัฒนาเกษตรกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเทศเยอรมนี

Sufficient does not mean that there is no use anymore, but you have to have enough of that Sufficiency to get by to give you, a decent living. That is the way I would interpret it.
ความพอเพียง ไม่ได้หมายถึงไม่ต้องการอีกแล้ว แต่ต้องมีพอที่จะอยู่ได้ พอที่จะมีชีวิตที่ดี
ศ.ดร.อมาตยา เซน (Amartya Sen)
ศาสตราจารย์ชาวอินเดีย ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ปี 1998

Thailand would be able to inspire a new world order, for an economic order, for a new social order, and the more sustainable way of life- not only for the Thai people, but for the world at large.
ประเทศไทยจะสามารถสร้างโลกใบใหม่ จากหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ฯพณฯ จิกมี ทินเลย์ (Jigme Y. Thinley)
นายกรัฐมนตรีแห่งประเทศภูฏาน

I would like to see these ideas become accessible to the people outside Thailand- because they are relevant for the people who happen not to be Thai, as they are for the Thai people. The basic wisdom is just as applicable.
เศรษฐศาสตร์สีเขียว-เศรษฐกิจพอเพียง สองแนวคิด ยึดหลักไม่เบียดเบียนโลก
ศ.ดร.ปีเตอร์ วอรร์ (Peter George Warr)
ศาสตราจารย์เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย

I think the common similar between Thailand and Bhutan is the wisdom of the Majesties, in the sense that they care for the people of the country, and therefore they really care on the long-term future of the country.
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นหนทางในการรักษาไว้ซึ่งอธิปไตยของประเทศ
ดร.ดอจี คินเล่ย์ (Dorjee Kinley)
นักเศรษฐศาสตร์ชาวภูฏาน ประจำองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ

"Sustainable development and growth should not happen in such a way that it destroys society…so it brings a lot of this way of ideas on care, wisdom, prudence, judgment, participations…it brings a lot of this way of thinking---and I suppose Sufficiency Economy does the same."
โลกาภิวัตน์ ต้องไม่ทำลายสังคม
ดร.ทาริก บานุรี (Tariq Banuri)
ผู้อำนวยการหลักสูตรความยั่งยืนแห่งอนาคต สถาบันสิ่งแวดล้อมสต็อคโฮล์ม ประเทศสวีเดน

It could be nice if in the international organized capitalist system could have the solidarity, sufficiency and other kind of organized Buddhist economy working together
จากเศรษฐกิจสมานฉันท์ ถึงเศรษฐกิจพอเพียง
คุณเฟอร์นันโด ไคลแมน (Fernando Kleiman)
หัวหน้าสำนักงานเลขาธิการเศรษฐกิจสมานฉันท์แห่งชาติ กระทรวงแรงงานและการจัดหางาน ประเทศบราซิล

We have to get people thinking about system, one of the ways of doing that is by enabling them to get engaged with their own problems in their own society.
เศรษฐกิจพอเพียง หาใช่แนวทางที่ทำให้ถอยหลัง หากแต่นำทางให้โลกได้เห็นอนาคต
ศ.ปีเตอร์ บูทรอยด์ (Peter Boothroyd)
ผู้อำนวยการศูนย์เพื่อการตั้งถิ่นฐานมนุษย์แห่งมหาวิทยาลัยบริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา

We see that the sufficiency economy is a concept that is an alternative strategy. That could be fit for them to face the current situation.
ติมอร์-เลสเต เชื่อมั่น เศรษฐกิจพอเพียงสกัดบริโภคนิยม
ดร.ฟาสติโน คอร์โดโซ (Faustino Cardoso)
ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยแห่งชาติ มหาวิทยาลัยแห่งชาติติมอร์-เลสเต (ติมอร์ตะวันออก)

One important thing that we can notice from them is the change in mind, and by working together we can do something better, if we work along. And I guess that is one of the principles of the sufficiency economy.
เศรษฐกิจพอเพียงเริ่มต้นจากการพึ่งพาตนเอง
คุณโยฮันเนส อัสโบโก้ (Yohanes Usboko)
อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยแห่งชาติติมอร์-เลสเต (ติมอร์ตะวันออก)

There is a moral dimension to economics, which western economists have forgotten about.
เศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาเศรษฐกิจที่ดำรงอยู่บนเงื่อนไขของคุณธรรม
ศ.ปีเตอร์ คัลกิ้น (Peter H. Calkins)
อาจารย์ด้านเศรษฐศาสตร์เกษตรและวิทยาการผู้บริโภค มหาวิทยาลัยลาวาล ประเทศแคนาดา

If people feel that they have enough, people would think about giving something to others.
การเข้าถึงเศรษฐกิจพอเพียง ต้องเกิดจากภายใน
ศ.ดร.วิมาลา วีระรัควาน (Vimala Veeraraghavan)
ผู้อำนวยการสถาบันอมิตี้แห่งพฤติกรรมสุขภาพและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประเทศอินเดีย